การท่องเที่ยว,เศรษฐกิจและยางพารา จังหวัดบึงกาฬ


การท่องเที่ยวและเศรษฐกิจ

นายสมพงษ์ อรุณโรจน์ปัญญา รักษาการผู้ว่าราชการจังหวัดบึงกาฬ
ได้ระบุถึงวิสัยทัศน์ของจังหวัดบึงกาฬ  โดยเตรียมพัฒนา แหล่งท่องเที่ยว การค้าชายแดน และการเกษตร โดยเฉพาะการปลูกยางพารา

หน่วยงานที่เกี่ยวกับ  ยางพารา
  ภาคราชการ 
1. สำนักงานกองทุนสงเคราะห์การทำสวนยาง       http://www.thailandrubber.thaigov.net/
ที่ตั้ง 67/25 ถ.บางกอกน้อยตลิ่งชัน กรุงเทพฯ10700  โทร.(02)4340180-91  โทรสาร (02)4336490

2. สถาบันวิจัยยาง กรมวิชาการเกษตร        http://www.rubberthai.com/
ที่ตั้ง จตุจักร กรุงเทพฯ10900 โทร.(02)5791576 , 5792183 , 5793667 , 5797557-8

3. องค์การสวนยาง     http://www.reothai.co.th/
ที่ตั้ง ถ.บางกอกน้อยตลิ่งชัน กรุงเทพฯ10700 โทร.(02)424259 โทรสาร (02)4336595

ภาคเอกชน
1. สมาคมยางพาราไทย  http:// http://www.thainr.com/
ที่ตั้ง 45-47 ถ.โชติวิริยะกุล 3 ต.หาดใหญ่ อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา
โทร.(074)230867,429911-2, 429311
โทรสาร (074)429312

2. กลุ่มอุสาหกรรมผลิตภัณฑ์ยาง
สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย  ที่ตั้ง ศูนย์การประชุมแห่งชาติสิริกิต โซน C ชั้น 4 คลองเตย  กรุงเทพฯ10110
โทร.(02)2294255
โทรสาร (02)2294941-2 ,(02)2294927

3. สมาคมสหกรณ์
ชาวสวนยางแห่งประเทศไทย  ที่ตั้ง 005 ถ.ราษฎร์บำรุง 12 ต.เนินพระ อ.เมือง จ.ระยอง 21000
โทร.(01)3005909
โทรสาร (038)616-615

4. สมาคมธุรกิจไม้ยางพาราไทย  http://www.tpa-rubberwood.org/
ที่ตั้ง อาคารศูนย์ส่งเสริมอุตสาหกรรมภาคใต้ 165 ถ.กาญจวนิชย์  ต.น้ำน้อย อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา 90110
โทร.(074)211903
โทรสาร (074)211903

5. สมาคมผู้ผลิตและส่งออกน้ำยางข้นไทย
ที่ตั้ง 33 ถ.กาญจวนิชย์ อ.สะเดา จ.สงขลา 90110
โทร.(074)4113534
โทรสาร (074)411352

6. สมาคมผู้ผลิตถุงมือยางแห่งประเทศไทย
ที่ตั้ง 33/48 ถ.สุริวงศ์ ชั้น 11 ห้อง 1102 Wall Street Tower Bldg.
โทร.(02)2670685-6
โทรสาร (02)2667972

7. ชุมนุมสหกรณ์ชาวสวนยางแห่งประเทศไทย   http://www.rcft.or.th/
ที่ตั้ง 2/1 ถ.สงขลา-นาทวี ม.4 ต.นาทวี อ.นาทวี จ.สงขลา 90160
โทร.(074)371500-1
โทรสาร (074)371501

องค์การยางระหว่างประเทศ
1. ANRPC :Association of Natoural  Rubber Producing Countries
สมาคมประเทศ ผู้ผลิตยางธรรมชาติ ปัจจุบันมี 7 ประเทศ (อินโดนีเซีย อินเดีย มาเลเซีย ไทย ปาปัวนิวกินี สิงคโปร์ และศรีลังกา )
ที่ตั้ง สำนักงานอยู่ที่กรุงกัวลาลัมเปอร์ มาเลเซีย    http://www.anrpc.org/

2. INRO: International Natour Rubber Organization
องค์การยางธรรมชาติ ระหว่างประเทศ จัดตั้งโดยสหประชาชาติ
ประกอบ ด้วย สมาชิกกลุ่มประเทศ ผู้ส่งออก 6 ประเทศ และประเทศผู้นำเข้า 16 ประเทศ
ที่ตั้ง สำนักงานอยู่ที่กรุงกัวลาลัมเปอร์ มาเลเซีย

3. IRRDB: International Rubber Research and Development Board
สภาวิจัย และพัฒนายางระหว่างประเทศ มีสมาชิก 15 ประเทศ
ที่ตั้ง สำนักงานเลขาธิการ อยู่ที่กรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ  http://www.irrdb.com/

4. IRSG: International Rubber Study Group
องค์การศึกษา เรื่องยางระหว่างประเทศ มีสมาชิก 23 ประเทศ
ที่ตั้ง สำนักงานเลขาธิการ อยู่ที่กรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ    http://www.rubberstudy.com/

5. INRC: International Natural Rubber Councill
สภายางธรรมชาติระหว่างประเทศ มีสมาชิก 4 ประเทศ
ที่ตั้ง สำนักงานอยู่ที่กรุงกัวลาลัมเปอร์ มาเลเซีย   http://www.vcharkarn.com/

6. IRQPC: International Rubber Quality and Packing Conference
คณะกรรมการ ด้านหีบห่อ และคุณภาพยางธรรมชาติระหว่างประเทศ สมาคมยางพาราไทย และสถาบันวิจัยยาง กรมวิชาการเกษตร เป็นสมาชิก
ที่ตั้ง สำนักงานอยู่ที่กรุงกัวลาลัมเปอร์ มาเลเซีย

7. IRA: International Rubber Association
สมาคมยางระหว่างประเทศ สมาคมยางพาราไทย และสถาบันวิจัยยาง กรมวิชาการเกษตร เป็นสมาชิก
ที่ตั้ง สำนักงานอยู่ที่กรุงกัวลาลัมเปอร์ มาเลเซีย    http://www.rubberthai.com/information/

8. ISO: International Organization for Standardization
สถาบันมาตรฐานระหว่างประเทศ กระทรวงอุตสาหกรรม เป็นสมาชิก

ระบบสนับสนุนการตัดสินใจในการปลูกยางพาราในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ: กรณีศึกษาจังหวัดอุบลราชธานี
(Decision support system for rubber plantation in the Northeast Thailand: UbonRajathani case study)


http://mapserv.agri.ubu.ac.th/
http://mapserv.agri.ubu.ac.th/Datarubber/paraabout00.html